IP address


    ip address คือ เลขรหัสประจำคอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่บนเครือข่าย ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุดและมีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด ยกตัวอย่างเช่น 192.168.1.1 เป็นต้นหรือนิยมเรียกสั้นๆว่า IP ซึ่งตัวเลข IP แต่ละเครื่องจะไม่ซ้ำกัน ดังนั้น จึงได้มีการก่อตั้งองค์กรเพื่อ แจกจ่าย IP Address โดยเฉพาะ ชื่อองค์กรว่า InterNIC (International Network Information Center) อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา การแจกจ่ายนั้นทาง InterNIC จะแจกจ่ายเฉพาะ Network Address ให้แต่ละเครือข่าย ส่วนลูกข่ายของเครือง ทางเครือข่ายนั้นก็จะเป็น ผู้แจกจ่ายอีกทอดหนึ่ง ดังนั้นพอสรุปได้ว่า IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ
  1. Network Address
  2. Computer Address
การแบ่งขนาดของ Network Address แบ่งได้ หลายขนาด Class A หมายเลข IP Address จะอยู่ในช่วง 0.0.0.0 ถึง 127.255.255.255 มีไว้สำหรับจัดสรรให้กับองค์กรขนาดใหญ่ที่มีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อภายในเครือ ข่ายจำนวนมากๆ Class B หมายเลข IP Address จะอยู่ในช่วง 128.0.0.0 ถึง 191.255.255.255 มีไว้สำหรับจัดสรรให้กับองค์กรขนาดกลาง ซึ่งสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้มากถึง 65,534 เครื่อง Class C หมายเลข IP Address จะอยู่ในช่วง 192.0.0.0 ถึง 223.255.255.255 มีไว้สำหรับจัดสรรให้กับองค์กรขนาดเล็กและใช้กับคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ในเครือ ข่ายอินเตอร์เน็ตสามารถต่อเชื่อมกับคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ 254 เครื่อง Class D หมายเลข IP Address จะอยู่ในช่วง 224.0.0.0 ถึง 239.255.255.255 สำหรับหมายเลข IP Address ของ Class นี้มีไว้เพื่อใช้ในเครือข่ายแบบ Multicast เท่านั้น Class E หมายเลข IP Address จะอยู่ในช่วง 240.0.0.0 ถึง 254.255.255.255 สำหรับหมายเลข IP Address ของ Class นี้จะเก็บสำรองไว้ใช้ในอนาคต ปัจจุบันจึงยังไม่ได้มีการนำมาใช้งาน ซึ่งเราสามารถเช็ค IP เครื่องเราได้ที่บทความเก่าๆ วิธีตรวจสอบ IP Address 
ปัจจุบันนี้คอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ทั่วไปบนโลกนี้มีมากมาย และทุกเครื่องก็สามารถที่จะเชื่อมต่อถึงกันด้วย และถ้าระบบเครือข่ายไม่มี IP Address แล้วละก็ เราจะไม่สามารถที่จะรู้ได้เลยว่าข้อมูลนี้ส่งมาจากเครื่องไหน และเล่นอยู่ที่ไหน ซึ่งในหลักความเป็นจริงแล้ว ถ้าIP Address ซ้ำกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้นก็จะมีปัญหา เปรียบได้กับเลขที่บ้านซ้ำกัน เมื่อไปรณีย์จ่ายจดหมายก็จะไม่สามารถจ่ายได้ถูกบ้าน ซึ่งนี่เองเป็นเหตุผลที่จะต้องมี IP Address ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์






          หน่วยงานนี้คือ องค์การกำหนดหมายเลขอินเทอร์เน็ต (IANA) เป็นผู้ดำเนินการจัดสรร IP Address ทั่วโลก และให้หน่วยงานทะเบียนอินเทอร์เน็ตประจำภูมิภาค (RIR) ทำหน้าที่จัดสรรกลุ่มเลขที่อยู่ IP Address สำหรับ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตและหน่วยงานอื่น ๆที่เกี่ยวข้องอีกทีหนึ่ง
โดยที่เลข IP Address ในปัจจุบันนี้มีอยู่ 2 แบบด้วยกันคือ IPv4 และ IPv6 ซึ่ง IP Address IPv4 นี้ถือกำเนิดมาก่อนเป็นแบบ ตัวเลข 32 บิต ซึ่งในปัจจุบันก็ยังมีใช้งานอยู่แต่เนื่องจากการใช้งานอินเตอร์เน็ตในปัจจุบันในเติบโตอย่างรวดเร็วทำให้ต้องมีการคิดค้นเลข IP Address ขึ้นมารองรับ นั้นก็คือ IPv6 ใช้ตัวเลข 128 บิต พัฒนาขึ้นใน ค.ศ. 1995 และได้ทำให้เป็นมาตรฐานใน อาร์เอฟซี 2460 เมื่อ ค.ศ. 1998


ประโยชน์ของ IP Address ในระบบ Networ
            IP Address มีประโยชน์ในระบบ Network อย่างมาก ก็อย่างที่เกริ่นไปแล้วในตอนแรกแล้วว่า IP Address มีความสำคัญมากสำคัญระบบเครือข่าย เพราะว่าเลข IP Address เป็นเลขเฉพาะอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งแต่ละเครื่องจะมีเลข IP Address ที่ไม่เหมือนกัน เพื่อไม่ให้เกิดความความสับสนในการติดต่อสื่อสารภายในเครือข่าย และยังช่วยให้ผู้ดูแลระบบเครือข่ายสามารถออกแบบสร้างและควบคุมการทำงานของเครือข่ายได้อย่างง่ายได้และไม่สับสน
IP Address เป็นสิ่งที่ทุกคนควรที่จะรู้จักและทำความเข้าใจเกี่ยวกับ IP Address ให้มากยิ่งขึ้นหลักใหญ่ใจความในการตั้งเลข IP Address และเป็นหลักที่สำคัญไม่ว่าระบบ Network นั้นจะเล็กหรือใหญ่ก็ตาม ก็คือต้องไม่ตั้งเลข IP Address ให้ซ้ำกันอย่างเด็ดขาดเลยทีเดียว

ความสําคัญของ IP ADDRESS
            IP Address (ไอพีแอดเดรส)มีความสำคัญในการเชื่อมต่อระบบ Network หรือเครือข่าย Internet ที่เราใช้กันทุกวันนี้ เพื่อให้ง่ายแก่การตรวจสอบเช็คหมายเลข Check IP Address ของเครื่อง สำหรับผู้ดูแลระบบในแต่ละองค์กร ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบเครือข่าย (Computer Network) หรือผู้ที่มีความสนใจอยากจะทราบ IP เช็คเลขIP "Check IP Address"ตรวจสอบวัดความเร็วอินเตอร์เน็ต(Speed Test ADSL) เช็ค หมายเลข ไอพี "Public IP Address" ปัจจุบันที่กำลังใช้งานอยู่ว่าเป็นหมายเลข ไอพีแอดเดรส คือ เลข IP Address อะไร

Class ของ IP ADDRESS
            การติดต่อสื่อสารภายในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต จะต้องมี IP Address สำหรับการส่งข้อมูลเพื่อติดต่อถึงกัน โดยตามปกติแล้ว IP Address จะมีการแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่บ่งบอกว่าเป็นหมายเลขเครือข่าย และหมายเลขเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งค่าของ IP Address จะมีการกำหนดค่าของ IP Address เป็นไบต์ (Byte) และกำหนดค่าด้วยเลขฐานสิบ ตัวอย่างเช่น IP Address 202.28.8.1 เป็นต้น
            โดยการทำงานภายใน IP Address ยังมีการแบ่งออกเป็นระดับชั้น (Class) ต่าง ๆ 5 Class คือ Class A, B, C, D และ E ซึ่งในแต่ละ Class จะมี หมายเลข IP จะมีทั้งหมด 32 บิต แบ่งออกเป็น 4 ฟิลด์ โดยแต่ละฟิลด์จะมี 8 บิต ซึ่งการแบ่งเป็น 4ฟิลด์นั้น ความจริงเป็นการกำหนดหมายเลขของเครื่องเครือข่าย และหมายเลขของเครื่องคอมพิวเตอร์ 
      เนื่องจากหมายเลข IP Address (ไอพีแอดเดรส)มีความสำคัญในการเชื่อมต่อระบบ Network หรือเครือข่าย Internet ที่เราใช้กันทุกวันนี้ เพื่อให้ง่ายแก่การตรวจสอบเช็คหมายเลข Check IP Address ของเครื่อง สำหรับผู้ดูแลระบบในแต่ละองค์กร ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบเครือข่าย (Computer Network) หรือผู้ที่มีความสนใจอยากจะทราบ IP เช็คเลขIP "Check IP Address"ตรวจสอบวัดความเร็วอินเตอร์เน็ต(Speed Test ADSL) เช็ค หมายเลข ไอพี "Public IP Address" ปัจจุบันที่กำลังใช้งานอยู่ว่าเป็นหมายเลข ไอพีแอดเดรส คือ เลข IP Address อะไร ได้สะดวก ก็สามารถตรวจสอบเช็คเลข ไอพี โดย ใช้บริการดีๆจากเราได้ ขอขอบคุณ"
 1. ไอพีแอดเดรส(Public IP Address)
            หมายเลข IP Address"Public IP" ของแต่ละเครื่องบนเครือขายInternet จะไม่ซ้ำกันโดยในการเชื่อมต่อ Internet ไปยังผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตจะจ่ายหมายเลข IP Address(ไอพี แอดเดรส)มาใช้ชั่วคราว 1 IPซึ่งเป็น หมายเลขIP ที่ใช้้จริงบนอินเตอร์เน็ตโดยเรียก หมายเลข IP นี้ว่า "Public IP Address " หมายเลข IP นี้จะเปลี่ยนไปทุกครั้งทีมีการเชื่อมต่อใหม่ โดยหมายเลข IP Address นี้ เป็นหมายเลขที่จะบอกความเป็นตัวตนของเครื่องนั้นในการสื่อสารกันในระบบ Internetโดยหมายเลข IP Address"Public IP" นี้เครื่อง Serverผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตจะเป็นผู้กำหนด จ่ายหมายเลข IP นี้มา
2. ไอพีแอดเดรส ภายใน(Private IP Address)
            หมายเลข IP Address"Private IP" คือหมายเลขไอพีเครื่อง แต่ละเครื่อง ในองค์กร หน่วยงาน โดยกำหนด ขึ้นมาเองเพื่อใช้ในองค์กรนั้นๆ เพื่อการสื่อสารภายใน ระบบเครือข่ายแลน หรือ อินทราเน็ต ภายในเท่านั้นโดยสามารถกำหนดได้ 2 รูปแบบ คือ

            1. กำหนดแบบ Dynamic วิธีนี้คอมพิวเตอร์ หรือ DHCP Server จะทำหน้าทีกำหนดหมายเลข IP และจ่ายเลขIPให้กับระบบคอมพิวเตอร์ในกรุ๊ปนั้น
หรือเรียกการจ่ายไอพีแบบนี้ว่า (Automatic Private IP Address)

            2. กำหนดแบบ Static เป็นวิธีการกำหนดไอพีแอดแดรสแบบคงที่ โดยผู้ติดตั้งระบบ ทำหน้าที่กำหนด หมายเลข IP Address ให้แต่ละเครื่อง โดยห้ามกำหนด IP ซ้ำกัน หรือนอกเหนือจาก Work Group ( แต่เมื่อมีการติดต่อในเครือข่าย Internet ก็จะได้รับหมายเลข ไอพี แอดเดรส "Public IP Address"จากผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตจะจ่ายหมายเลข IP Address(ไอพี แอดเดรส)มาใช้ชั่วคราว 1 IP หมายเลขที่ใช้ได้จริงบนอินเตอร์เน็ตซึ่งก็คือหมายเลขไอพีทีแสดงการ เช็คไอพี Check IP นั้นเอง ) และเราสามารถเช็คไอพี (Check IP) แบบ "Private IP" บนเครื่อง ได้โดยเข้าสู่ Start >> RUN>>พิมพ์ cmd >>OK.>>เ้ข้าสู่ Dos Command แล้วพิมพ์ คำสั่ง ipconfig หรือ ipconfig/all ก็สามารถ check ip แบบ Private IP Address ได้แล้วครับ

          3. ทดสอบวัดความเร็วอินเตอร์เน็ต(Check IP,Test Speed ADSL Internet) อีกหนึ่งบริการ ดีๆ Check IP จากเรา IP-TH.COM เพื่อการวัดตรวจสอบความเร็วอินเตอร์เน็ตของท่าน check ip ,Test Speed Internet Check ADSL ทำให้ทราบ Bandwidth Speed ADSL internet ระบบของท่านโดยจะแสดงค่าการUpload Speed,Download Speed เมื่อทำการทดสอบความเร็ว Test Speed Internet ADSL เสร็จ  
         4. เครื่องมือตรวจสอบแหล่งที่มาของไอพีที่ทราบ(Look Up Ip Address) ทางเวปขอเพิ่มเครื่องมือในการตรวจสอบแหล่งที่มาของไอพี เพื่อให้ทราบแหล่งที่มาของ IP ว่า IP นั้นมาจากที่ไดในโลก ประเทศ หรือจังหวัด อะไร โดยผู้ให้บริการรายได (ISP )เพื่อง่ายในการติดตาม ตรวจสอบแหล่งทีมา เช่นใน เวปบอร์ดต่างๆจะมีการโพสข้อความที่ไม่เหมาะสม และเมื่อเราทราบ IP
เราสามารถตรวจสอบขั้นต้นได้ โดยพิมพ์ หมายเลขไอพี (IP Address Number)







ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ระบบราง